โพแทสเซียมคาร์บอเนต Potassium Carbonate เกรดอาหาร E501 K2CO3

เริ่มโดย thathiemt, มิ.ย 30, 2025, 12:02 ก่อนเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

thathiemt

โพแทสเซียมคาร์บอเนต, โปแตสเซียมคาร์บอเนต, เกรดอาหาร, Potassium Carbonate, K2CO3, Food Grade, E501

นำเข้าโพแทสเซียมคาร์บอเนต, ส่งออกโพแทสเซียมคาร์บอเนต, ผลิตโพแทสเซียมคาร์บอเนต
จำหน่ายโพแทสเซียมคาร์บอเนต, โรงงานโพแทสเซียมคาร์บอเนต, ไทยแลนด์โพแทสเซียมคาร์บอเนต





สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร)
Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)


Tel No : 034854888

Mobile : 0893128888

Line ID : thaipoly8888



Email: thaipoly8888@gmail.com

Website : www.thaipolychemicals.com

Potassium Carbonate THAILAND

เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี
สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต


Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP
Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life



วัตถุเจือปนอาหารในกลุ่ม โพแทสเซียม, Potassium ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
Potassium Carbonate, K2CO3, Food Additive E501, โพแทสเซียมคาร์บอเนต
Potassium Chloride, KCl, Food Additive E508, โพแทสเซียมคลอไรด์
Potassium Citrate, Tripotassium Citrate, Food Additive E332, โพแทสเซียมซิเตรต
Potassium Hydroxide, KOH, Food Additive E525, โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
Potassium Iodate, KIO3, Food Additive E917, CALIBRE, ESKAY, โพแทสเซียมไอโอเดต
Potassium Iodide, KI, Food Additive, NIPPOH, AMPHRAY, โพแทสเซียมไอโอไดด์
Potassium Metabisulfite, K2S2O5, Food Additive E224, โพแทสเซียมเมต้าไบซัลไฟต์
Potassium Permanganate, KMnO4, โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต, ด่างทับทิม
Potassium Sorbate, Sorbistat-K, Food Additive E202, โพแทสเซียมซอร์เบต
Specialty Potassium Chemical, Food Grade, เคมีภัณฑ์โพแทสเซียม เกรดอาหาร ชนิดพิเศษอื่นๆ

วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) คือ วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ มาตรฐาน หรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง วัตถุที่ไม่ได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะ แล้วใส่รวมกับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น โดยไม่รวมถึงสารอาหารที่เติม เพื่อเพิ่มหรือปรับให้คงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน

ประโยชน์ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
เพื่อรักษาคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ให้มีความคงตัว เพื่อให้ได้ส่วนประกอบของอาหารเฉพาะในการผลิตอาหาร สำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความต้องการทางโภชนาการเฉพาะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพในอุตสาหกรรม ในการผลิตในปริมาณมาก หรือปรับปรุงคุณลักษณะด้านประสาทสัมผัส โดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณภาพและลักษณะของอาหาร เพื่อช่วยในการผลิต การแปรรูป การปฏิบัติ การบรรจุ การขนส่ง หรือการเก็บรักษาอาหาร โดยต้องไม่ใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ในการปกปิดความบกพร่องของอาหาร หรือกรรมวิธีการผลิตที่ไม่เหมาะสม

การใช้งาน วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
ในการใช้ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยปริมาณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดให้ใช้ ในแต่ละประเภทอาหารต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่ใช้ต้องมีการประเมินด้านความปลอดภัยโดย JECFA หรือผ่านการประเมินที่มีความเทียบเท่ากับ JECFA เพื่อกำหนดค่าความปลอดภัย (Acceptable Daily Intake: ADI) คือปริมาณของ วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ที่แสดงในรูปของ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน โดยบริโภคได้ทุกวัน ตลอดชีวิต โดยไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ

การแบ่งกลุ่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive)
โคเด็กซ์ (Codex) ได้จัดแบ่งกลุ่มวัตถุเจือปนอาหาร ตามหน้าที่ ออกเป็น 27 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ คือ
สารควบคุมความเป็นกรด (Acidity Regulator) | สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน (Anticaking Agent) | สารป้องกันการเกิดฟอง (Antifoaming Agent) | สารป้องกันการเกิดออกซิเดชัน (Antioxidant) | สารฟอกสี (Bleaching Agent) | สารเพิ่มปริมาณ (Bulking Agent) | สารให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbonating Agent) | สารช่วยทำละลายหรือช่วยพา (Carrier) | สี (Color) | สารคงสภาพของสี (Color Retention Agent) | อีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) | เกลืออีมัลซิไฟอิ้ง (Emulsifying Agent) | สารทำให้แน่น (Firming Agent) | สารเพิ่มรสชาติ (Flavor Enhancer) | สารปรับปรุงคุณภาพแป้ง (Flour Treatment Agent) | สารทำให้เกิดฟอง (Foaming Agent) | สารทำให้เกิดเจล (Gelling Agent) | สารเคลือบผิว (Glazing Agent) | สารทำให้เกิดความชุ่มชื้น (Humectant) | ก๊าซที่ช่วยในการเก็บรักษาอาหาร (Packaging Gas) | สารกันเสีย (Preservative) | ก๊าซที่ใช้ขับดัน (Propellant) | สารช่วยให้ฟู (Raising Agent) | สารช่วยจับอนุมูลอิสระ (Sequestrant) | สารทำให้คงตัว (Stabilizer) | สารให้ความหวาน (Sweetener) | สารให้ความข้นเหนียว (Thickener)


More information of sweetener, food additive, Food Grade chemical
Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact
Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive)


Website : www.thaipolychemicals.com

Tel : +6634 854888, +668 9312 8888

Official Line ID: thaipoly8888



Email: thaipoly8888 (at) gmail.com

POTASSIUM CARBONATE



025192654

วันนี้ เวลา13.30น.
ผม นายณัฐพล เริ่มฤกษ์ ได้รับหมายเรียก
จาก พ.ต.ท.พูลพัฒน์ ธรรมรัชต์เจริญ
เรียกตัวผมในฐานะผู้ต้องหาให้ไปรับทราบ
ข้อกล่าวหาที่ สน.โคกคราม
ภายใน7วัน ผมจึงรีบส่งไลน์ให้คุณพ่อผมดู
เมื่อคุณพ่อผมเห็น ก็ทำให้เลือดคนเดือนตุลา
ของคุณพ่อผมมันขึ้นหน้าเลยครับ




นี่คือภาพที่คุณพ่อผมส่งกลับมาทางไลน์
หลังจากเห็นภาพหมายเรียก
สหายชัย ใจรักประชาชน คือชื่อของคุณพ่อ
ในขณะที่ร่วมต่อสู้ในปี2519
จากนั้นเมื่อคุณพ่อสหายชัย ตั้งสติได้
ก็ส่งข้อความมาสั่งให้ผมทำตามนี้ครับ
ลูกหนึ่งต้องฟังพ่อ และทำตามที่พ่อบอก
พ่อเห็นข้อมูลนี้มาเกือบครึ่งเดือนแล้ว
ประวัติการป่วยจิตเวช ของ นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
ปี2538 โรคแอสเพอร์เกอร์
สถานที่ตรวจรักษา แฮปปี้โฮม คลินิก
ปี2542 โรคไบโพลาร์
สถานที่ตรวจรักษา รพ.รามาธิบดี
ปี2543 ภาวะจิตใจไม่ตรงเพศกำเนิด
สถานที่ตรวจรักษา รพ.รามาธิบดี
ปี2544 โรคจิตเภท
สถานที่ตรวจรักษา รพ.รามคำแหง
ปี2545 อาการจากสารเสพติด
สถานที่ตรวจรักษา คลินิกก้าวใหม่พลัส
ปี2546 โรคแอสเพอร์เกอร์
สถานที่ตรวจรักษา รพ.สมิติเวช ศรีนครินทร์
ปี2549 โรคไบโพลาร์ขั้นรุนแรง
สถานที่ตรวจรักษา รพ.บางปะกอก 9
อินเตอร์เนชั่นแนล
ปี2552 โรคเครียด (Adjustment Disorder)
สถานที่ตรวจรักษา รพ.เพชรเวช
ปี2555 โรคย้ำคิดย้ำทำ
(OCD: Obsessive-Compulsive Disorder)
สถานที่ตรวจรักษา รพ.นพรัตนราชธานี
ปี2558 อาการจากสารเสพติด
สถานที่ตรวจรักษา รพ.พญาไทนวมินทร์
ลูกหนึ่งรู้หรือไม่ว่าไอ้หมอบ้านี่
มันทำให้ตระกูลของพ่อเสียชื่อ
เสี่ยชื่ออย่างเดียวไม่ว่า มันเสียนามสกุลด้วย
ถ้าหนึ่งยังมีจิตสำนึกเป็นลูกพ่อ
ทำตามที่พ่อบอกปกป้องตัวเอง
ปกป้องครอบครับ และ ตระกูล ให้ได้นะลูก
ก่อนอื่นไปแจ้งความที่ สน.ลาดพร้าว
ว่าลูกหนึ่งไม่เคยเป็นโรคจิต
แต่ถูกใส่ความว่าเป็นจิตเวช
โดยพ่อค้ากล้วยแขก และ แม่ของมัน
ที่อาศัยอยู่ซอยเดียวกัน
ในหมู่บ้านสราญรมย์
จากนั้นรีบไปตรวจสอบตามโรงพยาบาล
ต่างๆที่ลูกหนึ่งเคยถูกหน่วยงาน
การศึกษา และ ตำรวจส่งไปตรวจ
เอาใบแจ้งความให้เขาดู
รีบทำเลยนะลูกหนึ่ง
จากนั้น เวลา14.20น.
ผมเดินทางไปถึง สน.ลาดพร้าว
แจ้งความกับ พ.ต.ต.เอกพจน์ มณี
ตามที่คุณพ่อบอก เวลา14.50น.
แจ้งความเสร็จ ได้ใบแจ้งความมาแล้ว
พรุ่งนี้ผมจะรีบไปติดต่อตามที่คุณพ่อ
สั่งไว้ครับ เริ่มจาก แฮปปี้โฮม คลินิก
ผมดีใจที่ได้เกิดมาในตระกูลเริ่มฤกษ์
ผมขอรับรองว่าสายเลือดตระกูลเริ่มฤกษ์
เป็นเลือดคนเดือนตุลา ไม่มียีนด้อย